คุณสมบัติผู้ตรวจประเมินระบบ GMP/GHPs


เกณฑ์คุณสมบัติผู้ตรวจประเมินระบบ GMP/GHPs Codex.                  

ประเภทผู้ตรวจประเมิน

วุฒิการศึกษา

ประสบการณ์การทำงาน

การฝึกอบรม

ประสบการณ์การตรวจประเมิน

1. ผู้ตรวจประเมินฝึกหัด

ผู้ประเมินต้องจบการศึกษา คุณวุฒิขั้นต่ำของผู้ตรวจประเมินเป็น วิทยาศาสตร์บัณฑิต (วท.บ.) ด้านวิทยาศาสตร์ขึ้นไปให้ ถือว่าสอดคล้องกับข้อกำหนดนี้ และการศึกษาต้องมีหลักสูตรที่สอนในเรื่อง จุลชีววิทยาทางอาหาร (Food Microbiology) กระบวนการแปรรูปอาหารขั้นพื้นฐาน (Food Processing Fundamentals) และเคมีอาหาร (Food Chemistry)

ประสบการณ์ทำงานอย่างน้อย 5 ปี โดยอย่างน้อย 2 ปี ต้องทำงานเกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมอาหารด้านการผลิต หรือ การประกันคุณภาพ

 

ผู้ตรวจประเมินต้องสอบผ่านการฝึกอบรมด้านความปลอดภัยอาหารตามหลักสูตรที่หน่วยงานราชการหรือหน่วยงานที่น่าเชื่อถือเป็นผู้จัด ซึ่งมีจำนวนชั่วโมงการอบรมไม่ต่ำกว่า 40 ชั่วโมงและมีระบบการประเมินผลเป็นที่ยอมรับของ มกอช.ให้ถือว่าสอดคล้องตามข้อกำหนด กรณีการรับรองขอบข่าย ภายใต้ FSMA Accredited Third-Party Certification Program ผู้ตรวจประเมินต้องได้รับการฝึกอบรมเพิ่มเติมทางเทคนิคเฉพาะด้านที่เกี่ยวกับความปลอดภัยอาหาร(Technical Food Safety Training) ที่เพียงพอเพื่อทำให้มั่นใจว่า ผู้ตรวจประเมินมีความสามารถใน การตรวจประเมินตามขอบข่ายที่ลูกค้าขอการรับรอง และต้องได้รับการฝึกอบรมด้านความ ปลอดภัยอาหาร (Food Safety Training) อย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง ตามรายละเอียดที่ระบุใน FDA Third-Party Certification Bodies Rule ข้อกำหนดที่ 1.650 (a)(3) รวมทั้งต้องอบรมหรือมีความรู้ในเรื่องต่างๆ ดังต่อไปนี้

1.ความรู้เกี่ยวกับการควบคุมและป้องกันการปนเปื้อนของอาหาร (Food Defense) อาหาร

ความรู้เกี่ยวกับการควบคุมและป้องกันการปนเปื้อนของอาหาร (Food Defense) อาหาร

ปลอม (Food Fraud) ซึ่งครอบคลุมถึงวิธีการในการประเมินความเสี่ยง และมาตรการในการลดความเสี่ยงที่สามารถดำเนินการได้ ซึ่งอาจเป็นการเข้ารับการฝึกอบรม หรือการศึกษาด้วยตนเอง อย่างไรก็ตาม ต้องมีหลักฐานที่สามารถแสดงได้ถึงความรู้

2.การฝึกอบรม PCHF/PCAF – อย่างน้อย 20 ชั่วโมง

3.Code of Federal Regulations (CFR) ที่เกี่ยวข้องกับขอบข่ายกระบวนการผลิตและผลิตภัณฑ์ ที่หน่วยรับรองให้บริการรับรอง และแสดงให้เห็นถึงความเข้าใจข้อกำหนดกฎระเบียบ หรือ ข้อกฎหมายของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องความสามารถของผู้ตรวจประเมิน

4.สำหรับระบบ GMP/GHP/HACCP และขอบข่ายภายใต้ FSMA Accredited Third-Party Certification Program หากผู้ประเมินผ่านการฝึกอบรมด้านเทคนิคในการตรวจประเมิน (Audit Training) ตามหลักสูตร Lead Auditor โดยผู้จัดฝึกอบรมที่ได้รับการยอมรับตามหลักสากลถือว่าสอดคล้องตามข้อกำหนด (เช่น หลักสูตร Auditor/Lead Auditor ISO 9001, Auditor/Lead Auditor HACCP, Auditor/Lead Auditor ISO 22000 เป็นต้น)

ไม่กำหนด

ไม่กำหนด

2. ผู้ตรวจประเมิน

ผู้ประเมินต้องจบการศึกษา คุณวุฒิขั้นต่ำของผู้ตรวจประเมินเป็น วิทยาศาสตร์บัณฑิต (วท.บ.) ด้านวิทยาศาสตร์ขึ้นไปให้ ถือว่าสอดคล้องกับข้อกำหนดนี้ และการศึกษาต้องมีหลักสูตรที่สอนในเรื่อง จุลชีววิทยาทางอาหาร (Food Microbiology) กระบวนการแปรรูปอาหารขั้นพื้นฐาน (Food Processing Fundamentals) และเคมีอาหาร (Food Chemistry)

ประสบการณ์ทำงานอย่างน้อย 5 ปี โดยอย่างน้อย 2 ปี ต้องทำงานเกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมอาหารด้านการผลิต หรือ การประกันคุณภาพ

ผู้ตรวจประเมินต้องสอบผ่านการฝึกอบรมด้านความปลอดภัยอาหารตามหลักสูตรที่หน่วยงานราชการหรือหน่วยงานที่น่าเชื่อถือเป็นผู้จัด ซึ่งมีจำนวนชั่วโมงการอบรมไม่ต่ำกว่า 40 ชั่วโมงและมีระบบการประเมินผลเป็นที่ยอมรับของ มกอช.ให้ถือว่าสอดคล้องตามข้อกำหนด กรณีการรับรองขอบข่าย ภายใต้ FSMA Accredited Third-Party Certification Program ผู้ตรวจประเมินต้องได้รับการฝึกอบรมเพิ่มเติมทางเทคนิคเฉพาะด้านที่เกี่ยวกับความปลอดภัยอาหาร(Technical Food Safety Training) ที่เพียงพอเพื่อทำให้มั่นใจว่า ผู้ตรวจประเมินมีความสามารถใน การตรวจประเมินตามขอบข่ายที่ลูกค้าขอการรับรอง และต้องได้รับการฝึกอบรมด้านความ ปลอดภัยอาหาร (Food Safety Training) อย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง ตามรายละเอียดที่ระบุใน FDA Third-Party Certification Bodies Rule ข้อกำหนดที่ 1.650 (a)(3) รวมทั้งต้องอบรมหรือมีความรู้ในเรื่องต่างๆ ดังต่อไปนี้

  1. ความรู้เกี่ยวกับการควบคุมและป้องกันการปนเปื้อนของอาหาร (Food Defense) อาหารปลอม (Food Fraud) ซึ่งครอบคลุมถึงวิธีการในการประเมินความเสี่ยง และมาตรการในการลดความเสี่ยงที่สามารถดำเนินการได้ ซึ่งอาจเป็นการเข้ารับการฝึกอบรม หรือการศึกษาด้วยตนเอง อย่างไรก็ตาม ต้องมีหลักฐานที่สามารถแสดงได้ถึงความรู้
  2. การฝึกอบรม PCHF/PCAF – อย่างน้อย 20 ชั่วโมง
  3. Code of Federal Regulations (CFR)ที่เกี่ยวข้องกับขอบข่ายกระบวนการผลิตและผลิตภัณฑ์ ที่หน่วยรับรองให้บริการรับรอง และแสดงให้เห็นถึงความเข้าใจข้อกำหนดกฎระเบียบ หรือ ข้อกฎหมายของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องความสามารถของผู้ตรวจประเมิน
  4. สำหรับระบบ GMP/GHP/HACCP และขอบข่ายภายใต้ FSMA Accredited Third-Party Certification Program หากผู้ประเมินผ่านการฝึกอบรมด้านเทคนิคในการตรวจประเมิน (Audit Training) ตามหลักสูตร Lead Auditor โดยผู้จัดฝึกอบรมที่ได้รับการยอมรับตามหลักสากลถือว่าสอดคล้องตามข้อกำหนด (เช่น หลักสูตร Auditor/Lead Auditor ISO 9001, Auditor/Lead Auditor HACCP, Auditor/Lead Auditor ISO 22000 เป็นต้น)

การขึ้นทะเบียนเป็นผู้ตรวจประเมินครั้งแรก(First Qualification) หน่วยรับรองต้องมั่นใจว่า ผู้ตรวจประเมินมีการตรวจประเมินระบบ GMP/GHP/HACCP หรือ PCHF/PCAF หรือมาตรฐาน/กฎหมายความปลอดภัยอาหารที่เกี่ยวข้องอย่างน้อย 4 การประเมินรวมอย่างน้อย 20 วัน ภายในระยะเวลา 3 ปี ภายใต้การกำกับดูแลของหัวหน้าผู้ตรวจประเมินที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์ข้อกำหนด โดยต้องไม่นับรวมประสบการณ์การตรวจประเมินระบบ ISO 9001 การรักษาความสามารถของผู้ตรวจประเมิน (Maintaining the Qualification) หากผู้ตรวจประเมินมีการตรวจประเมินในขอบข่าย GMP//GHP/HACCP หรือ PCHF/PCAF ไม่ต่ำกว่าปี ละ 1 ครั้งให้ถือว่าเพียงพอต่อการรักษาความสามารถของผู้ตรวจประเมินตามข้อกำหนดนี้ ทั้งนี้หน่วยรับรองต้องมีการประเมินความสามารถของผู้ตรวจประเมินอย่างน้อย 1 ครั้ง ภายในระยะเวลา 3 ปี

 

 

3. หัวหน้าผู้ตรวจประเมิน

ผู้ประเมินต้องจบการศึกษา คุณวุฒิขั้นต่ำของผู้ตรวจประเมินเป็น วิทยาศาสตร์บัณฑิต (วท.บ.) ด้านวิทยาศาสตร์ขึ้นไปให้ ถือว่าสอดคล้องกับข้อกำหนดนี้ และการศึกษาต้องมีหลักสูตรที่สอนในเรื่อง จุลชีววิทยาทางอาหาร (Food Microbiology) กระบวนการแปรรูปอาหารขั้นพื้นฐาน (Food Processing Fundamentals) และเคมีอาหาร (Food Chemistry)

ประสบการณ์ทำงานอย่างน้อย 5 ปี โดยอย่างน้อย 2 ปี ต้องทำงานเกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมอาหารด้านการผลิต หรือ การประกันคุณภาพ

ผู้ตรวจประเมินต้องสอบผ่านการฝึกอบรมด้านความปลอดภัยอาหารตามหลักสูตรที่หน่วยงานราชการหรือหน่วยงานที่น่าเชื่อถือเป็นผู้จัด ซึ่งมีจำนวนชั่วโมงการอบรมไม่ต่ำกว่า 40 ชั่วโมงและมีระบบการประเมินผลเป็นที่ยอมรับของ มกอช.ให้ถือว่าสอดคล้องตามข้อกำหนด กรณีการรับรองขอบข่าย ภายใต้ FSMA Accredited Third-Party Certification Program ผู้ตรวจประเมินต้องได้รับการฝึกอบรมเพิ่มเติมทางเทคนิคเฉพาะด้านที่เกี่ยวกับความปลอดภัยอาหาร(Technical Food Safety Training) ที่เพียงพอเพื่อทำให้มั่นใจว่า ผู้ตรวจประเมินมีความสามารถใน การตรวจประเมินตามขอบข่ายที่ลูกค้าขอการรับรอง และต้องได้รับการฝึกอบรมด้านความ ปลอดภัยอาหาร (Food Safety Training) อย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง ตามรายละเอียดที่ระบุใน FDA Third-Party Certification Bodies Rule ข้อกำหนดที่ 1.650 (a)(3) รวมทั้งต้องอบรมหรือมีความรู้ในเรื่องต่างๆ ดังต่อไปนี้

  1. ความรู้เกี่ยวกับการควบคุมและป้องกันการปนเปื้อนของอาหาร (Food Defense) อาหารปลอม (Food Fraud) ซึ่งครอบคลุมถึงวิธีการในการประเมินความเสี่ยง และมาตรการในการลดความเสี่ยงที่สามารถดำเนินการได้ ซึ่งอาจเป็นการเข้ารับการฝึกอบรม หรือการศึกษาด้วยตนเอง อย่างไรก็ตาม ต้องมีหลักฐานที่สามารถแสดงได้ถึงความรู้
  2. การฝึกอบรม PCHF/PCAF – อย่างน้อย 20 ชั่วโมง
  3. Code of Federal Regulations (CFR)ที่เกี่ยวข้องกับขอบข่ายกระบวนการผลิตและผลิตภัณฑ์ ที่หน่วยรับรองให้บริการรับรอง และแสดงให้เห็นถึงความเข้าใจข้อกำหนดกฎระเบียบ หรือ ข้อกฎหมายของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องความสามารถของผู้ตรวจประเมิน

สำหรับระบบ GMP/HACCP และขอบข่ายภายใต้ FSMA Accredited Third-Party Certification Program หากผู้ประเมินผ่านการฝึกอบรมด้านเทคนิคในการตรวจประเมิน (Audit Training) ตามหลักสูตร Lead Auditor โดยผู้จัดฝึกอบรมที่ได้รับการยอมรับตามหลักสากลถือว่าสอดคล้องตามข้อกำหนด (เช่น หลักสูตร Auditor/Lead Auditor ISO 9001, Auditor/Lead Auditor HACCP, Auditor/Lead Auditor ISO 22000 เป็นต้น)

การขึ้นทะเบียนเป็นผู้ตรวจประเมินครั้งแรก(First Qualification) หน่วยรับรองต้องมั่นใจว่า ผู้ตรวจประเมินมีการตรวจประเมินระบบ GMP/HACCP หรือ PCHF/PCAF หรือมาตรฐาน/กฎหมายความปลอดภัยอาหารที่เกี่ยวข้องอย่างน้อย 4 การประเมินรวมอย่างน้อย 20 วัน ภายในระยะเวลา 3 ปี ภายใต้การกำกับดูแลของหัวหน้าผู้ตรวจประเมินที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์ข้อกำหนด โดยต้องไม่นับรวมประสบการณ์การตรวจประเมินระบบ ISO 9001 การรักษาความสามารถของผู้ตรวจประเมิน (Maintaining the Qualification) หากผู้ตรวจประเมินมีการตรวจประเมินในขอบข่าย GMP/HACCP หรือ PCHF/PCAF ไม่ต่ำกว่าปี ละ 1 ครั้งให้ถือว่าเพียงพอต่อการรักษาความสามารถของผู้ตรวจประเมินตามข้อกำหนดนี้ ทั้งนี้หน่วยรับรองต้องมีการประเมินความสามารถของผู้ตรวจประเมินอย่างน้อย 1 ครั้ง ภายในระยะเวลา 3 ปี

 

 

4.ผู้เชี่ยวชาญ

คุณวุฒิขั้นต่ำของผู้เชี่ยวชาญ จบวิทยาศาสตร์บัณฑิต (วท.บ.) วิทยาศาสตร์การอาหาร วิศวกรรมอาหาร หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง การศึกษาต้องมีหลักสูตรที่สอนในเรื่อง จุลชีววิทยาทางอาหาร (Food Microbiology) กระบวนการแปรรูปอาหารขั้นพื้นฐาน (Food Processing Fundamentals) และเคมีอาหาร (Food Chemistry) มีความสามารถในการบริหารจัดการองค์กรได้ มีประสบการณ์การทำงานอย่างน้อย 10 ปี ขึ้นไป

มีประสบการณ์ในสาขาเฉพาะทางที่เกี่ยวข้องในอุตสาหกรรม อย่างน้อย 5 ปี

ผ่านการอบรมหลักสูตร ISO9001 หรือ ISO14001 / ผ่านการอบรมหลักสูตร GMP/HACCP ไม่น้อยกว่า 40 ชั่วโมง

ไม่กำหนด