เกณฑ์คุณสมบัติผู้ตรวจประเมินระบบ GMP/GHPs Codex.


ประเภทผู้ตรวจประเมิน

วุฒิการศึกษา

ประสบการณ์การทำงาน

การฝึกอบรม

ประสบการณ์การตรวจประเมิน

1. ผู้ตรวจประเมินฝึกหัด

ผู้ประเมินต้องจบการศึกษา คุณวุฒิขั้นต่ำของผู้ตรวจประเมินเป็น วิทยาศาสตร์บัณฑิต (วท.บ.) ด้านวิทยาศาสตร์ขึ้นไปให้ ถือว่าสอดคล้องกับข้อกำหนดนี้ และการศึกษาต้องมีหลักสูตรที่สอนในเรื่อง จุลชีววิทยาทางอาหาร (Food Microbiology) กระบวนการแปรรูปอาหารขั้นพื้นฐาน (Food Processing Fundamentals) และเคมีอาหาร (Food Chemistry)

ประสบการณ์ทำงานอย่างน้อย 5 ปี โดยอย่างน้อย 2 ปี ต้องทำงานเกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมอาหารด้านการผลิต หรือ การประกันคุณภาพ

 

ผู้ตรวจประเมินต้องสอบผ่านการฝึกอบรมด้านความปลอดภัยอาหารตามหลักสูตรที่หน่วยงานราชการหรือหน่วยงานที่น่าเชื่อถือเป็นผู้จัด ซึ่งมีจำนวนชั่วโมงการอบรมไม่ต่ำกว่า 40 ชั่วโมงและมีระบบการประเมินผลเป็นที่ยอมรับของ มกอช.ให้ถือว่าสอดคล้องตามข้อกำหนด กรณีการรับรองขอบข่าย ภายใต้ FSMA Accredited Third-Party Certification Program ผู้ตรวจประเมินต้องได้รับการฝึกอบรมเพิ่มเติมทางเทคนิคเฉพาะด้านที่เกี่ยวกับความปลอดภัยอาหาร(Technical Food Safety Training) ที่เพียงพอเพื่อทำให้มั่นใจว่า ผู้ตรวจประเมินมีความสามารถใน การตรวจประเมินตามขอบข่ายที่ลูกค้าขอการรับรอง และต้องได้รับการฝึกอบรมด้านความ ปลอดภัยอาหาร (Food Safety Training) อย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง ตามรายละเอียดที่ระบุใน FDA Third-Party Certification Bodies Rule ข้อกำหนดที่ 1.650 (a)(3) รวมทั้งต้องอบรมหรือมีความรู้ในเรื่องต่างๆ ดังต่อไปนี้

1.ความรู้เกี่ยวกับการควบคุมและป้องกันการปนเปื้อนของอาหาร (Food Defense) อาหาร

ความรู้เกี่ยวกับการควบคุมและป้องกันการปนเปื้อนของอาหาร (Food Defense) อาหาร

ปลอม (Food Fraud) ซึ่งครอบคลุมถึงวิธีการในการประเมินความเสี่ยง และมาตรการในการลดความเสี่ยงที่สามารถดำเนินการได้ ซึ่งอาจเป็นการเข้ารับการฝึกอบรม หรือการศึกษาด้วยตนเอง อย่างไรก็ตาม ต้องมีหลักฐานที่สามารถแสดงได้ถึงความรู้

2.การฝึกอบรม PCHF/PCAF – อย่างน้อย 20 ชั่วโมง

3.Code of Federal Regulations (CFR) ที่เกี่ยวข้องกับขอบข่ายกระบวนการผลิตและผลิตภัณฑ์ ที่หน่วยรับรองให้บริการรับรอง และแสดงให้เห็นถึงความเข้าใจข้อกำหนดกฎระเบียบ หรือ ข้อกฎหมายของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องความสามารถของผู้ตรวจประเมิน

4.สำหรับระบบ GMP/GHPs/HACCP และขอบข่ายภายใต้ FSMA Accredited Third-Party Certification Program หากผู้ประเมินผ่านการฝึกอบรมด้านเทคนิคในการตรวจประเมิน (Audit Training) ตามหลักสูตร Lead Auditor โดยผู้จัดฝึกอบรมที่ได้รับการยอมรับตามหลักสากลถือว่าสอดคล้องตามข้อกำหนด (เช่น หลักสูตร Auditor/Lead Auditor ISO 9001, Auditor/Lead Auditor HACCP, Auditor/Lead Auditor ISO 22000 เป็นต้น)

ไม่กำหนด

ไม่กำหนด

2. ผู้ตรวจประเมิน

ผู้ประเมินต้องจบการศึกษา คุณวุฒิขั้นต่ำของผู้ตรวจประเมินเป็น วิทยาศาสตร์บัณฑิต (วท.บ.) ด้านวิทยาศาสตร์ขึ้นไปให้ ถือว่าสอดคล้องกับข้อกำหนดนี้ และการศึกษาต้องมีหลักสูตรที่สอนในเรื่อง จุลชีววิทยาทางอาหาร (Food Microbiology) กระบวนการแปรรูปอาหารขั้นพื้นฐาน (Food Processing Fundamentals) และเคมีอาหาร (Food Chemistry)

ประสบการณ์ทำงานอย่างน้อย 5 ปี โดยอย่างน้อย 2 ปี ต้องทำงานเกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมอาหารด้านการผลิต หรือ การประกันคุณภาพ

ผู้ตรวจประเมินต้องสอบผ่านการฝึกอบรมด้านความปลอดภัยอาหารตามหลักสูตรที่หน่วยงานราชการหรือหน่วยงานที่น่าเชื่อถือเป็นผู้จัด ซึ่งมีจำนวนชั่วโมงการอบรมไม่ต่ำกว่า 40 ชั่วโมงและมีระบบการประเมินผลเป็นที่ยอมรับของ มกอช.ให้ถือว่าสอดคล้องตามข้อกำหนด กรณีการรับรองขอบข่าย ภายใต้ FSMA Accredited Third-Party Certification Program ผู้ตรวจประเมินต้องได้รับการฝึกอบรมเพิ่มเติมทางเทคนิคเฉพาะด้านที่เกี่ยวกับความปลอดภัยอาหาร(Technical Food Safety Training) ที่เพียงพอเพื่อทำให้มั่นใจว่า ผู้ตรวจประเมินมีความสามารถใน การตรวจประเมินตามขอบข่ายที่ลูกค้าขอการรับรอง และต้องได้รับการฝึกอบรมด้านความ ปลอดภัยอาหาร (Food Safety Training) อย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง ตามรายละเอียดที่ระบุใน FDA Third-Party Certification Bodies Rule ข้อกำหนดที่ 1.650 (a)(3) รวมทั้งต้องอบรมหรือมีความรู้ในเรื่องต่างๆ ดังต่อไปนี้

  1. ความรู้เกี่ยวกับการควบคุมและป้องกันการปนเปื้อนของอาหาร (Food Defense) อาหารปลอม (Food Fraud) ซึ่งครอบคลุมถึงวิธีการในการประเมินความเสี่ยง และมาตรการในการลดความเสี่ยงที่สามารถดำเนินการได้ ซึ่งอาจเป็นการเข้ารับการฝึกอบรม หรือการศึกษาด้วยตนเอง อย่างไรก็ตาม ต้องมีหลักฐานที่สามารถแสดงได้ถึงความรู้
  2. การฝึกอบรม PCHF/PCAF – อย่างน้อย 20 ชั่วโมง
  3. Code of Federal Regulations (CFR)ที่เกี่ยวข้องกับขอบข่ายกระบวนการผลิตและผลิตภัณฑ์ ที่หน่วยรับรองให้บริการรับรอง และแสดงให้เห็นถึงความเข้าใจข้อกำหนดกฎระเบียบ หรือ ข้อกฎหมายของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องความสามารถของผู้ตรวจประเมิน
  4. สำหรับระบบ GMP/GHPs/HACCP และขอบข่ายภายใต้ FSMA Accredited Third-Party Certification Program หากผู้ประเมินผ่านการฝึกอบรมด้านเทคนิคในการตรวจประเมิน (Audit Training) ตามหลักสูตร Lead Auditor โดยผู้จัดฝึกอบรมที่ได้รับการยอมรับตามหลักสากลถือว่าสอดคล้องตามข้อกำหนด (เช่น หลักสูตร Auditor/Lead Auditor ISO 9001, Auditor/Lead Auditor HACCP, Auditor/Lead Auditor ISO 22000 เป็นต้น)

การขึ้นทะเบียนเป็นผู้ตรวจประเมินครั้งแรก(First Qualification) หน่วยรับรองต้องมั่นใจว่า ผู้ตรวจประเมินมีการตรวจประเมินระบบ GMP/GHPs/HACCP หรือ PCHF/PCAF หรือมาตรฐาน/กฎหมายความปลอดภัยอาหารที่เกี่ยวข้องอย่างน้อย 4 การประเมินรวมอย่างน้อย 20 วัน ภายในระยะเวลา 3 ปี ภายใต้การกำกับดูแลของหัวหน้าผู้ตรวจประเมินที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์ข้อกำหนด โดยต้องไม่นับรวมประสบการณ์การตรวจประเมินระบบ ISO 9001 การรักษาความสามารถของผู้ตรวจประเมิน (Maintaining the Qualification) หากผู้ตรวจประเมินมีการตรวจประเมินในขอบข่าย GMP//GHPs/HACCP หรือ PCHF/PCAF ไม่ต่ำกว่าปี ละ 1 ครั้งให้ถือว่าเพียงพอต่อการรักษาความสามารถของผู้ตรวจประเมินตามข้อกำหนดนี้ ทั้งนี้หน่วยรับรองต้องมีการประเมินความสามารถของผู้ตรวจประเมินอย่างน้อย 1 ครั้ง ภายในระยะเวลา 3 ปี

 

 

3. หัวหน้าผู้ตรวจประเมิน

ผู้ประเมินต้องจบการศึกษา คุณวุฒิขั้นต่ำของผู้ตรวจประเมินเป็น วิทยาศาสตร์บัณฑิต (วท.บ.) ด้านวิทยาศาสตร์ขึ้นไปให้ ถือว่าสอดคล้องกับข้อกำหนดนี้ และการศึกษาต้องมีหลักสูตรที่สอนในเรื่อง จุลชีววิทยาทางอาหาร (Food Microbiology) กระบวนการแปรรูปอาหารขั้นพื้นฐาน (Food Processing Fundamentals) และเคมีอาหาร (Food Chemistry)

ประสบการณ์ทำงานอย่างน้อย 5 ปี โดยอย่างน้อย 2 ปี ต้องทำงานเกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมอาหารด้านการผลิต หรือ การประกันคุณภาพ

ผู้ตรวจประเมินต้องสอบผ่านการฝึกอบรมด้านความปลอดภัยอาหารตามหลักสูตรที่หน่วยงานราชการหรือหน่วยงานที่น่าเชื่อถือเป็นผู้จัด ซึ่งมีจำนวนชั่วโมงการอบรมไม่ต่ำกว่า 40 ชั่วโมงและมีระบบการประเมินผลเป็นที่ยอมรับของ มกอช.ให้ถือว่าสอดคล้องตามข้อกำหนด กรณีการรับรองขอบข่าย ภายใต้ FSMA Accredited Third-Party Certification Program ผู้ตรวจประเมินต้องได้รับการฝึกอบรมเพิ่มเติมทางเทคนิคเฉพาะด้านที่เกี่ยวกับความปลอดภัยอาหาร(Technical Food Safety Training) ที่เพียงพอเพื่อทำให้มั่นใจว่า ผู้ตรวจประเมินมีความสามารถใน การตรวจประเมินตามขอบข่ายที่ลูกค้าขอการรับรอง และต้องได้รับการฝึกอบรมด้านความ ปลอดภัยอาหาร (Food Safety Training) อย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง ตามรายละเอียดที่ระบุใน FDA Third-Party Certification Bodies Rule ข้อกำหนดที่ 1.650 (a)(3) รวมทั้งต้องอบรมหรือมีความรู้ในเรื่องต่างๆ ดังต่อไปนี้

  1. ความรู้เกี่ยวกับการควบคุมและป้องกันการปนเปื้อนของอาหาร (Food Defense) อาหารปลอม (Food Fraud) ซึ่งครอบคลุมถึงวิธีการในการประเมินความเสี่ยง และมาตรการในการลดความเสี่ยงที่สามารถดำเนินการได้ ซึ่งอาจเป็นการเข้ารับการฝึกอบรม หรือการศึกษาด้วยตนเอง อย่างไรก็ตาม ต้องมีหลักฐานที่สามารถแสดงได้ถึงความรู้
  2. การฝึกอบรม PCHF/PCAF – อย่างน้อย 20 ชั่วโมง
  3. Code of Federal Regulations (CFR)ที่เกี่ยวข้องกับขอบข่ายกระบวนการผลิตและผลิตภัณฑ์ ที่หน่วยรับรองให้บริการรับรอง และแสดงให้เห็นถึงความเข้าใจข้อกำหนดกฎระเบียบ หรือ ข้อกฎหมายของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องความสามารถของผู้ตรวจประเมิน

สำหรับระบบ GMP/GHPs/HACCP และขอบข่ายภายใต้ FSMA Accredited Third-Party Certification Program หากผู้ประเมินผ่านการฝึกอบรมด้านเทคนิคในการตรวจประเมิน (Audit Training) ตามหลักสูตร Lead Auditor โดยผู้จัดฝึกอบรมที่ได้รับการยอมรับตามหลักสากลถือว่าสอดคล้องตามข้อกำหนด (เช่น หลักสูตร Auditor/Lead Auditor ISO 9001, Auditor/Lead Auditor HACCP, Auditor/Lead Auditor ISO 22000 เป็นต้น)

การขึ้นทะเบียนเป็นผู้ตรวจประเมินครั้งแรก(First Qualification) หน่วยรับรองต้องมั่นใจว่า ผู้ตรวจประเมินมีการตรวจประเมินระบบ GMP/GHPs/HACCP หรือ PCHF/PCAF หรือมาตรฐาน/กฎหมายความปลอดภัยอาหารที่เกี่ยวข้องอย่างน้อย 4 การประเมินรวมอย่างน้อย 20 วัน ภายในระยะเวลา 3 ปี ภายใต้การกำกับดูแลของหัวหน้าผู้ตรวจประเมินที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์ข้อกำหนด โดยต้องไม่นับรวมประสบการณ์การตรวจประเมินระบบ ISO 9001 การรักษาความสามารถของผู้ตรวจประเมิน (Maintaining the Qualification) หากผู้ตรวจประเมินมีการตรวจประเมินในขอบข่าย GMP/GHPs/HACCP หรือ PCHF/PCAF ไม่ต่ำกว่าปี ละ 1 ครั้งให้ถือว่าเพียงพอต่อการรักษาความสามารถของผู้ตรวจประเมินตามข้อกำหนดนี้ ทั้งนี้หน่วยรับรองต้องมีการประเมินความสามารถของผู้ตรวจประเมินอย่างน้อย 1 ครั้ง ภายในระยะเวลา 3 ปี

 

 

4.ผู้เชี่ยวชาญ

คุณวุฒิขั้นต่ำของผู้เชี่ยวชาญ จบวิทยาศาสตร์บัณฑิต (วท.บ.) วิทยาศาสตร์การอาหาร วิศวกรรมอาหาร หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง การศึกษาต้องมีหลักสูตรที่สอนในเรื่อง จุลชีววิทยาทางอาหาร (Food Microbiology) กระบวนการแปรรูปอาหารขั้นพื้นฐาน (Food Processing Fundamentals) และเคมีอาหาร (Food Chemistry) มีความสามารถในการบริหารจัดการองค์กรได้ มีประสบการณ์การทำงานอย่างน้อย 10 ปี ขึ้นไป

มีประสบการณ์ในสาขาเฉพาะทางที่เกี่ยวข้องในอุสาหกรรม อย่างน้อย 10 ปี

ผ่านการอบรมหลักสูตร Lead  Auditor ISO9001 หรือ ISO14001 / ผ่านการอบรมหลักสูตร GMP/HACCP ไม่น้อยกว่า 40 ชั่วโมง

ไม่กำหนด

 

 

เกณฑ์คุณสมบัติผู้ตรวจประเมินระบบ HACCP

ประเภทผู้ตรวจประเมิน

วุฒิการศึกษา

ประสบการณ์การทำงาน

การฝึกอบรม

ประสบการณ์การตรวจประเมิน

1. ผู้ตรวจประเมินฝึกหัด

ผู้ประเมินต้องจบการศึกษา คุณวุฒิขั้นต่ำของผู้ตรวจประเมินเป็น วิทยาศาสตร์บัณฑิต (วท.บ.) ด้านวิทยาศาสตร์ขึ้นไปให้ ถือว่าสอดคล้องกับข้อกำหนดนี้ และการศึกษาต้องมีหลักสูตรที่สอนในเรื่อง จุลชีววิทยาทางอาหาร (Food Microbiology) กระบวนการแปรรูปอาหารขั้นพื้นฐาน (Food Processing Fundamentals) และเคมีอาหาร (Food Chemistry)

ประสบการณ์ทำงานอย่างน้อย 5 ปี โดยอย่างน้อย 2 ปี ต้องทำงานเกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมอาหารด้านการผลิต หรือ การประกันคุณภาพ

 

ผู้ตรวจประเมินต้องสอบผ่านการฝึกอบรมด้านความปลอดภัยอาหารตามหลักสูตรที่หน่วยงานราชการหรือหน่วยงานที่น่าเชื่อถือเป็นผู้จัด ซึ่งมีจำนวนชั่วโมงการอบรมไม่ต่ำกว่า 40 ชั่วโมงและมีระบบการประเมินผลเป็นที่ยอมรับของ มกอช.ให้ถือว่าสอดคล้องตามข้อกำหนด กรณีการรับรองขอบข่าย ภายใต้ FSMA Accredited Third-Party Certification Program ผู้ตรวจประเมินต้องได้รับการฝึกอบรมเพิ่มเติมทางเทคนิคเฉพาะด้านที่เกี่ยวกับความปลอดภัยอาหาร(Technical Food Safety Training) ที่เพียงพอเพื่อทำให้มั่นใจว่า ผู้ตรวจประเมินมีความสามารถใน การตรวจประเมินตามขอบข่ายที่ลูกค้าขอการรับรอง และต้องได้รับการฝึกอบรมด้านความ ปลอดภัยอาหาร (Food Safety Training) อย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง ตามรายละเอียดที่ระบุใน FDA Third-Party Certification Bodies Rule ข้อกำหนดที่ 1.650 (a)(3) รวมทั้งต้องอบรมหรือมีความรู้ในเรื่องต่างๆ ดังต่อไปนี้

1.ความรู้เกี่ยวกับการควบคุมและป้องกันการปนเปื้อนของอาหาร (Food Defense) อาหาร

ความรู้เกี่ยวกับการควบคุมและป้องกันการปนเปื้อนของอาหาร (Food Defense) อาหาร

ปลอม (Food Fraud) ซึ่งครอบคลุมถึงวิธีการในการประเมินความเสี่ยง และมาตรการในการลดความเสี่ยงที่สามารถดำเนินการได้ ซึ่งอาจเป็นการเข้ารับการฝึกอบรม หรือการศึกษาด้วยตนเอง อย่างไรก็ตาม ต้องมีหลักฐานที่สามารถแสดงได้ถึงความรู้

2.การฝึกอบรม PCHF/PCAF – อย่างน้อย 20 ชั่วโมง

3.Code of Federal Regulations (CFR) ที่เกี่ยวข้องกับขอบข่ายกระบวนการผลิตและผลิตภัณฑ์ ที่หน่วยรับรองให้บริการรับรอง และแสดงให้เห็นถึงความเข้าใจข้อกำหนดกฎระเบียบ หรือ ข้อกฎหมายของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องความสามารถของผู้ตรวจประเมิน

4.สำหรับระบบ GMP/GHPs/HACCP และขอบข่ายภายใต้ FSMA Accredited Third-Party Certification Program หากผู้ประเมินผ่านการฝึกอบรมด้านเทคนิคในการตรวจประเมิน (Audit Training) ตามหลักสูตร Lead Auditor โดยผู้จัดฝึกอบรมที่ได้รับการยอมรับตามหลักสากลถือว่าสอดคล้องตามข้อกำหนด (เช่น หลักสูตร Auditor/Lead Auditor ISO 9001, Auditor/Lead Auditor HACCP, Auditor/Lead Auditor ISO 22000 เป็นต้น)

ไม่กำหนด

 

ไม่กำหนด

2. ผู้ตรวจประเมิน

ผู้ประเมินต้องจบการศึกษา คุณวุฒิขั้นต่ำของผู้ตรวจประเมินเป็น วิทยาศาสตร์บัณฑิต (วท.บ.) ด้านวิทยาศาสตร์ขึ้นไปให้ ถือว่าสอดคล้องกับข้อกำหนดนี้ และการศึกษาต้องมีหลักสูตรที่สอนในเรื่อง จุลชีววิทยาทางอาหาร (Food Microbiology) กระบวนการแปรรูปอาหารขั้นพื้นฐาน (Food Processing Fundamentals) และเคมีอาหาร (Food Chemistry)

ประสบการณ์ทำงานอย่างน้อย 5 ปี โดยอย่างน้อย 2 ปี ต้องทำงานเกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมอาหารด้านการผลิต หรือ การประกันคุณภาพ

ผู้ตรวจประเมินต้องสอบผ่านการฝึกอบรมด้านความปลอดภัยอาหารตามหลักสูตรที่หน่วยงานราชการหรือหน่วยงานที่น่าเชื่อถือเป็นผู้จัด ซึ่งมีจำนวนชั่วโมงการอบรมไม่ต่ำกว่า 40 ชั่วโมงและมีระบบการประเมินผลเป็นที่ยอมรับของ มกอช.ให้ถือว่าสอดคล้องตามข้อกำหนด กรณีการรับรองขอบข่าย ภายใต้ FSMA Accredited Third-Party Certification Program ผู้ตรวจประเมินต้องได้รับการฝึกอบรมเพิ่มเติมทางเทคนิคเฉพาะด้านที่เกี่ยวกับความปลอดภัยอาหาร(Technical Food Safety Training) ที่เพียงพอเพื่อทำให้มั่นใจว่า ผู้ตรวจประเมินมีความสามารถใน การตรวจประเมินตามขอบข่ายที่ลูกค้าขอการรับรอง และต้องได้รับการฝึกอบรมด้านความ ปลอดภัยอาหาร (Food Safety Training) อย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง ตามรายละเอียดที่ระบุใน FDA Third-Party Certification Bodies Rule ข้อกำหนดที่ 1.650 (a)(3) รวมทั้งต้องอบรมหรือมีความรู้ในเรื่องต่างๆ ดังต่อไปนี้

  1. ความรู้เกี่ยวกับการควบคุมและป้องกันการปนเปื้อนของอาหาร (Food Defense) อาหารปลอม (Food Fraud) ซึ่งครอบคลุมถึงวิธีการในการประเมินความเสี่ยง และมาตรการในการลดความเสี่ยงที่สามารถดำเนินการได้ ซึ่งอาจเป็นการเข้ารับการฝึกอบรม หรือการศึกษาด้วยตนเอง อย่างไรก็ตาม ต้องมีหลักฐานที่สามารถแสดงได้ถึงความรู้
  2. การฝึกอบรม PCHF/PCAF – อย่างน้อย 20 ชั่วโมง
  3. Code of Federal Regulations (CFR)ที่เกี่ยวข้องกับขอบข่ายกระบวนการผลิตและผลิตภัณฑ์ ที่หน่วยรับรองให้บริการรับรอง และแสดงให้เห็นถึงความเข้าใจข้อกำหนดกฎระเบียบ หรือ ข้อกฎหมายของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องความสามารถของผู้ตรวจประเมิน

สำหรับระบบ GMP/GHPs/HACCP และขอบข่ายภายใต้ FSMA Accredited Third-Party Certification Program หากผู้ประเมินผ่านการฝึกอบรมด้านเทคนิคในการตรวจประเมิน (Audit Training) ตามหลักสูตร Lead Auditor โดยผู้จัดฝึกอบรมที่ได้รับการยอมรับตามหลักสากลถือว่าสอดคล้องตามข้อกำหนด (เช่น หลักสูตร Auditor/Lead Auditor ISO 9001, Auditor/Lead Auditor HACCP, Auditor/Lead Auditor ISO 22000 เป็นต้น)

การขึ้นทะเบียนเป็นผู้ตรวจประเมินครั้งแรก(First Qualification) หน่วยรับรองต้องมั่นใจว่า ผู้ตรวจประเมินมีการตรวจประเมินระบบ GMP/GHPs/HACCP หรือ PCHF/PCAF หรือมาตรฐาน/กฎหมายความปลอดภัยอาหารที่เกี่ยวข้องอย่างน้อย 4 การประเมินรวมอย่างน้อย 20 วัน ภายในระยะเวลา 3 ปี ภายใต้การกำกับดูแลของหัวหน้าผู้ตรวจประเมินที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์ข้อกำหนด โดยต้องไม่นับรวมประสบการณ์การตรวจประเมินระบบ ISO 9001 การรักษาความสามารถของผู้ตรวจประเมิน (Maintaining the Qualification) หากผู้ตรวจประเมินมีการตรวจประเมินในขอบข่าย GMP/GHPs/HACCP หรือ PCHF/PCAF ไม่ต่ำกว่าปี ละ 1 ครั้งให้ถือว่าเพียงพอต่อการรักษาความสามารถของผู้ตรวจประเมินตามข้อกำหนดนี้ ทั้งนี้หน่วยรับรองต้องมีการประเมินความสามารถของผู้ตรวจประเมินอย่างน้อย 1 ครั้ง ภายในระยะเวลา 3 ปี

3. หัวหน้าผู้ตรวจประเมิน

ผู้ประเมินต้องจบการศึกษา คุณวุฒิขั้นต่ำของผู้ตรวจประเมินเป็น วิทยาศาสตร์บัณฑิต (วท.บ.) ด้านวิทยาศาสตร์ขึ้นไปให้ ถือว่าสอดคล้องกับข้อกำหนดนี้ และการศึกษาต้องมีหลักสูตรที่สอนในเรื่อง จุลชีววิทยาทางอาหาร (Food Microbiology) กระบวนการแปรรูปอาหารขั้นพื้นฐาน (Food Processing Fundamentals) และเคมีอาหาร (Food Chemistry)

ประสบการณ์ทำงานอย่างน้อย 5 ปี โดยอย่างน้อย 2 ปี ต้องทำงานเกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมอาหารด้านการผลิต หรือ การประกันคุณภาพ

ผู้ตรวจประเมินต้องสอบผ่านการฝึกอบรมด้านความปลอดภัยอาหารตามหลักสูตรที่หน่วยงานราชการหรือหน่วยงานที่น่าเชื่อถือเป็นผู้จัด ซึ่งมีจำนวนชั่วโมงการอบรมไม่ต่ำกว่า 40 ชั่วโมงและมีระบบการประเมินผลเป็นที่ยอมรับของ มกอช.ให้ถือว่าสอดคล้องตามข้อกำหนด กรณีการรับรองขอบข่าย ภายใต้ FSMA Accredited Third-Party Certification Program ผู้ตรวจประเมินต้องได้รับการฝึกอบรมเพิ่มเติมทางเทคนิคเฉพาะด้านที่เกี่ยวกับความปลอดภัยอาหาร(Technical Food Safety Training) ที่เพียงพอเพื่อทำให้มั่นใจว่า ผู้ตรวจประเมินมีความสามารถใน การตรวจประเมินตามขอบข่ายที่ลูกค้าขอการรับรอง และต้องได้รับการฝึกอบรมด้านความ ปลอดภัยอาหาร (Food Safety Training) อย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง ตามรายละเอียดที่ระบุใน FDA Third-Party Certification Bodies Rule ข้อกำหนดที่ 1.650 (a)(3) รวมทั้งต้องอบรมหรือมีความรู้ในเรื่องต่างๆ ดังต่อไปนี้

  1. ความรู้เกี่ยวกับการควบคุมและป้องกันการปนเปื้อนของอาหาร (Food Defense) อาหารปลอม (Food Fraud) ซึ่งครอบคลุมถึงวิธีการในการประเมินความเสี่ยง และมาตรการในการลดความเสี่ยงที่สามารถดำเนินการได้ ซึ่งอาจเป็นการเข้ารับการฝึกอบรม หรือการศึกษาด้วยตนเอง อย่างไรก็ตาม ต้องมีหลักฐานที่สามารถแสดงได้ถึงความรู้
  2. การฝึกอบรม PCHF/PCAF – อย่างน้อย 20 ชั่วโมง
  3. Code of Federal Regulations (CFR)ที่เกี่ยวข้องกับขอบข่ายกระบวนการผลิตและผลิตภัณฑ์ ที่หน่วยรับรองให้บริการรับรอง และแสดงให้เห็นถึงความเข้าใจข้อกำหนดกฎระเบียบ หรือ ข้อกฎหมายของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องความสามารถของผู้ตรวจประเมิน

สำหรับระบบ GMP/GHPs/HACCP และขอบข่ายภายใต้ FSMA Accredited Third-Party Certification Program หากผู้ประเมินผ่านการฝึกอบรมด้านเทคนิคในการตรวจประเมิน (Audit Training) ตามหลักสูตร Lead Auditor โดยผู้จัดฝึกอบรมที่ได้รับการยอมรับตามหลักสากลถือว่าสอดคล้องตามข้อกำหนด (เช่น หลักสูตร Auditor/Lead Auditor ISO 9001, Auditor/Lead Auditor HACCP, Auditor/Lead Auditor ISO 22000 เป็นต้น)

การขึ้นทะเบียนเป็นผู้ตรวจประเมินครั้งแรก(First Qualification) หน่วยรับรองต้องมั่นใจว่า ผู้ตรวจประเมินมีการตรวจประเมินระบบ GMP/GHPs/HACCP หรือ PCHF/PCAF หรือมาตรฐาน/กฎหมายความปลอดภัยอาหารที่เกี่ยวข้องอย่างน้อย 4 การประเมินรวมอย่างน้อย 20 วัน ภายในระยะเวลา 3 ปี ภายใต้การกำกับดูแลของหัวหน้าผู้ตรวจประเมินที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์ข้อกำหนด โดยต้องไม่นับรวมประสบการณ์การตรวจประเมินระบบ ISO 9001 การรักษาความสามารถของผู้ตรวจประเมิน (Maintaining the Qualification) หากผู้ตรวจประเมินมีการตรวจประเมินในขอบข่าย GMP/GHPs/HACCP หรือ PCHF/PCAF ไม่ต่ำกว่าปี ละ 1 ครั้งให้ถือว่าเพียงพอต่อการรักษาความสามารถของผู้ตรวจประเมินตามข้อกำหนดนี้ ทั้งนี้หน่วยรับรองต้องมีการประเมินความสามารถของผู้ตรวจประเมินอย่างน้อย 1 ครั้ง ภายในระยะเวลา 3 ปี

 

 

4.ผู้เชี่ยวชาญ

คุณวุฒิขั้นต่ำของผู้เชี่ยวชาญ จบวิทยาศาสตร์บัณฑิต (วท.บ.) วิทยาศาสตร์การอาหาร วิศวกรรมอาหาร หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง การศึกษาต้องมีหลักสูตรที่สอนในเรื่อง จุลชีววิทยาทางอาหาร (Food Microbiology) กระบวนการแปรรูปอาหารขั้นพื้นฐาน (Food Processing Fundamentals) และเคมีอาหาร (Food Chemistry) มีความสามารถในการบริหารจัดการองค์กรได้ มีประสบการณ์การทำงานอย่างน้อย 10 ปี ขึ้นไป

มีประสบการณ์ในสาขาเฉพาะทางที่เกี่ยวข้องในอุสาหกรรม อย่างน้อย 10 ปี

ผ่านการอบรมหลักสูตร Lead  Auditor ISO9001 หรือ ISO14001 / ผ่านการอบรมหลักสูตร GMP/ HACCP ไม่น้อยกว่า 40 ชั่วโมง

ไม่กำหนด